สำหรับการเจรจาไกล่เกลี่ยกั บการประนอมข้อพิพาทโดยใช้ คนกลางนั้นจะมีความแตกต่างกั นอย่างชัดเจน นั่นก็คือ การเจรจาไกล่เกลี่ยนั้นเป็ นการที่คู่กรณีได้มาทำการตกลงกั นเองโดยไม่มีบุคคลภายนอกเข้ าไปมีส่วนเกี่ยวข้อง แต่การประนอมข้อพิพาทโดยใช้ คนกลางนั้นจะต้องมีบุคคลที่สาม มาช่วยในการพูดคุยและให้คู่กรณี ได้ทำการตกลงร่วมกันนั่นเอง
เบอร์นาร์ด เมเยอร์ เป็นทั้งผู้สอนที่ผู้ที่ทำหน้ าที่ในการประนอมข้อพิพาท และมีประสบการณ์มาจาก CDR Associates ให้ความเห็นไว้ว่าการประนอมข้ อพิพาทนั้นเป็นวิธีการที่คู่ กรณีได้เลือกใช้ในจัดการกับปั ญหา แต่ถ้าเป็นปัญหาที่รุนแรง ไม่สามารถที่จะควบคุมได้จะต้ องหาคนกลางเข้ามาช่วยเหลือ เรียกว่าการประนอมข้อพิ พาทโดยใช้คนกลาง
การประนอมข้อพิพาทจะสำเร็จได้นั ้นจะต้องประกอบไปด้วยหลายปัจจัย และมันก็ไม่ได้มีสูตรที่ตายตั วอีกด้วย แต่อย่างน้อยทำให้เห็นถึ งภาพรวมที่ทำให้ความขัดแย้งเหล่ านั้นลุล่วงไปได้ด้วยดี ดังต่อไปนี้
ความสำเร็จของการประนอมข้อพิพาทโดยใช้ คนกลาง
ความสำเร็จของการประนอมโดยใช้ คนกลางนั้นหมายถึงอะไร หากได้สอบถามจากผู้ที่ทำหน้าที่ เกี่ยวกับการประนอมนั้น จะได้คำตอบที่แตกต่างกันออกไป ไม่ใช่เรื่องที่น่าแปลกใจ ทั้งนี้เป็นเพราะว่าแต่ละคนนั้ นได้มีความเข้าใจ ความรู้ และประสบการณ์ที่แตกต่างกั นออกไป
แคทเธอรีน มอริส เป็นผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการจั ดการกับความขัดแย้ง ของประเทศแคนาดา และเป็นผู้สอนที่ University of Victoria และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ กำหนดไว้ว่าการประนอมข้อพิ พาทโดยใช้คนกลางนั้นจะสำเร็จได้ ต้องมีปัจจัยต่อไปนี้
- การชนะตัวเองได้มากที่สุด
- แก้ไขปัญหาชั่วคราว
- การทำข้อตกลงที่มั่นคงและการั
นตีได้ว่าข้อตกลงเหล่านั้นจะยั่ งยืน - การทำในสิ่งที่ถูกต้องอย่างเป็
นธรรมไม่ว่าจะเป็นการชดเชย ซ่อมแซม ปรับปรุง แก้ไข อย่างที่ควรจะเป็น - การทำให้คู่กรณีที่เกิดความขั
ดแย้งกันนั้นกลับมาคืนดีได้ - การพัฒนาความสัมพันธ์จนสามารถพู
ดคุยต่อไปได้
ในขณะที่เมเยอร์เห็นว่ าการประนอมโดยใช้คนกลางไม่จำเป็ นที่จะต้องมีข้อตกลงร่วมกัน โดยเฉพาะในกรณีรุนแรง และมีผู้ที่เข้ามาเกี่ยวข้องเป็ นจำนวนมาก ข้อตกลงนั้นเป็นแค่ขั้นตอนหนึ่ งของการแก้ไขปัญหา และได้ตั้งข้อสงสัยต่อไปอีกว่า การประนอมข้อพิพาทที่สำเร็จด้ วยข้อตกลงเป็นการใช้วิธีการบั งคับก็เป็นไปได้ ซึ่งเมเยอร์เห็นว่าการประนอมข้ อพิพาทโดยใช้คนกลางน่าจะเน้ นในการช่วยคู่กรณีจัดการกั บความขัดแย้งจะดีกว่า
สำหรับนิยามที่แตกต่างกันไป แต่ยังคงคล้ายคลึงกันในเรื่องปั จจัยความสำเร็จดังนี้
- การทำในสิ่งที่ถูกต้องไม่ว่
าจะเป็นการชดเชย ชดใช้ ซ่อมแซม และการปรับปรุงจากผู้ที่ทำผิด และต้องให้ผู้ที่ทำผิดยอมรับว่ าตนได้ทำผิดไปด้วย - การแก้ไขความแตกร้าว หรือรอยแตกร้าวให้กลับมาเข้
าใจกันมากขึ้น การทำให้คู่กรณีเหล่านั้นได้กลั บมาคืนดีและสามารถร่วมงานได้อี กนั่นเอง - การสร้างหรือฟื้นฟูความสัมพันธ์
ให้ดีขึ้น ดังนั้นบรรยากาศในการพูดคุยเป็ นเรื่องที่จำเป็นอีกอย่างหนึ่ง - การให้ข้อตกลงที่มันคงและยั่งยื
นนั่นเอง